ไก่ชน ไทย FOR DUMMIES

ไก่ชน ไทย for Dummies

ไก่ชน ไทย for Dummies

Blog Article

เมื่อลูกไก่ออกจากเปลือกเป็นตัวแห้งแล้ว และเดินเหินได้แล้ว ซึ่งอยู่ในความคุ้มครองของแม่ของมัน ในระยะ ๑-๗ วัน ขังทั้งแม่และลูกไว้ในสุ่มหรือกรอม โดยหาน้ำและอาหารอ่อน ๆ เช่น ปลายข้าวและรำมาให้กิน หลังจากนั้นก็ปล่อยให้แม่ของมันเลี้ยงตามธรรมชาติ แต่ก็คอยช่วยเหลือและให้อาหารเป็นปกติ ลูกไก่อายุ ๓-๑๐ สัปดาห์ จำเป็นต้องหาอาหารให้อย่างเพียงพอ โดยให้อาหารวันละ ๒ มื้อ เช้า-เย็น พอลูกไก่มีอายุย่างเข้า ๒ เดือนครึ่ง ระยะนี้กินข้าวเปลือกได้แล้ว นอกจากนั้นมันหาอาหารเองตามธรรมชาติ อาหารเหล่านี้ได้แก่ ไส้เดือน แมลง ปลวก เคง และหญ้าอ่อน ๆ ถ้าลูกไก่ตัวไหนผอม ไม่เจริญเติบโต ก็ควรหายาถ่ายพยาธิให้กินเสีย

๑. ควรมีการคัดพ่อพันธุ์ไก่แยกไว้ต่างหาก ไม่ควรให้มีพ่อพันธุ์ไก่ปะปนอยู่หลายตัว เพราะอาจได้ไก่ที่ไม่ตรงตามความประสงค์

๘. เกล็ดน้อย หมายถึงที่แข้ง นิ้ว หลังแข้ง มีเกล็ดไม่มาก และเป็นเกล็ดอยู่ห่าง ๆ กัน

๖ ขนไร เป็นขนที่เล็กที่สุดขึ้นอยู่ใต้ขนลูกแมว ที่ลานขวดน้ำมันหรือลานนกหว้าหรือในบ่อที่ปลายปีกด้านใน ในไก่บางตัวจะมีขนชนิดนี้ขึ้นอยู่แต่บางตัวไม่มี ๒๐.๗ ขนบัว ขึ้นอยู่ส่วนบนของก้นไก่ติดกับโคนหางมีทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย แต่ส่วนมากมีเฉพาะบัวหงายเท่านั้น ไก่ชนที่มีบัวคว่ำนับเป็นไก่ที่หายาก และถ้ามีทั้งบัวคว่ำ บัวหงายแล้ว ก็นับเป็นลักษณะดีพิเศษสุดลักษณะหนึ่ง ๒๐.๘ ขนเป็ด บางแห่งเรียก ขนนกเอี้ยง หรือ ขนนกนางแอ่น เป็นขนที่อยู่ปลายปีกทั้งสองของไก่ เป็นขนแข็งแต่เล็กและสั้นเหมือนขนนกดังกล่าว มีอยู่ประมาณ ๒-๕ เส้น

แล้วได้เห็นกีฬาชนไก่ของชาวเปอร์เซีย จนเกิดความสนใจในความแข็งแกร่งของไก่ชน หลังจากรบชนะแล้วจึงได้นำไก่ชนกลับมายังนครเอเธนส์ด้วย และได้จัดให้มีการชนไก่เป็นประจำขึ้นที่นั่น จากนั้นก็ได้แพร่หลายเข้าสู่กรุงโรม

นอกจากนี้ ไก่เหลืองหางขาวยังมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทย เนื่องจากปรากฏอยู่ในพงศาวดารว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงนำไก่เหลืองหางขาวไปชนกับไก่ของพระมหาอุปราชาแห่งพม่า ไก่เหลืองหางขาว ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสามารถเอาชนะไก่ของพระมหาอุปราชาได้ ทำให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้รับชัยชนะในการรบครั้งนั้น

ไก่เครา คือไก่ที่มีเคราอยู่ใต้คาง ไม่ว่าไก่นั้นจะมีสีอะไรก็ตาม และเคราของไก่ไม่ว่าไก่สีอะไรมักจะเป็นเคราสีดำทั้งสิ้น ถ้าไก่ตัวใดมีเคราเหมือนสีตัวนับเป็นไก่หายาก (ยกเว้นไก่ชี) เช่น ไก่ด่าง มีเคราสีขาว ไก่แดง มีเคราสีแดง นับเป็นไก่ที่หายากทั้งสิ้น ไก่เคราที่มีลักษณะดีอีกอย่างหนึ่งนั้นจะต้องเป็นไก่เคราที่มีหงอนใหญ่จึงจะถูกโฉลกกัน ในบางท้องถิ่นเชื่อว่าไก่เคราเป็นไก่ที่มีลักษณะไม่ดี ไม่นิยมเอามาเลี้ยงเป็นไก่ชน แต่สำหรับท้องถิ่นภาคใต้เชื่อว่าเอามาเลี้ยงเป็นไก่ชนได้ ไก่เคราที่มีลักษณะที่ดีดังกล่าวบางทีก็เป็น หัวไก่ ก็มี

ในสมัยสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ถูกส่งไปยังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร แล้วส่งต่อไปไว้ยังพิพิธภัณฑสถานวัดพระปฐมเจดีย์ โดยเห็นว่าเป็นสมัยทวารวดี มีแหล่งกำเนิดที่นครปฐม เชื่อกันว่าพระพุทธรูปสมัยทวารวดีที่พบในเมืองไชยานั้นก็คงจะถูกส่งไปจากเมืองนครปฐมหรือภาคกลาง จึงตั้งใจให้รวบรวมเป็นหมวดหมู่อยู่ในที่เดียวกัน พระพุทธรูปสมัยทวารวดี ศิลาสององค์ จากวัดเววน เมืองไชยา จึงประดิษฐานอยู่ที่ระเบียงพิพิธภัณฑสถานวัดพระปฐมเจดีย์มาจนทุกวันนี้

การกระทำอะไร ๆ ของคนไทยมักจะมีความเชื่อต่าง ๆ เป็นเครื่องช่วยให้เกิดความมั่นใจในกิจการนั้น ๆ การเล่นชนไก่ก็เช่นกัน ได้มีความเชื่อหลายสิ่งหลายอย่างเกี่ยวกับกีฬาพื้นบ้านประเภทนี้ดังกล่าวแล้ว

ในบทความนี้ เราจะพาคุณไปทำความรู้จักกับ ไก่ชน ในฐานะกิจกรรมการละเล่นที่สืบทอดมายาวนานและยังคงเป็นที่นิยมในปัจจุบัน รวมถึงลักษณะเฉพาะของไก่ชน การแข่งขัน และบทบาทของไก่ชนในสังคมไทย

เครื่องยาที่ใส่น้ำต้มไว้อาบไก่หรือให้น้ำไก่ในตอนเช้านั้น ประกอบด้วยสมุนไพรหลายสิ่งหลายอย่างเป็นต้นว่า เจ็ดหมูนย่าน (บอระเพ็ด) ใบมะขาม ใบส้มป่อย ขมิ้นอ้อย ขมิ้นฤๅษี กระดูกไก่ทั้งสอง คือทั้งสองชนิด ขาว-ดำ ไหลเผือก ย่านเอ็น ใบคนทีสอ เฉียงพร้า หัวไพล ไม้ค้อนตีหมา อัญชันดอกขาว ฟ้าทะลายโจร ชะพลูช้าง ขมิ้นชัน เถาวัลย์เปรียงดอกแดง ตาไม้ไผ่สีสุก ฯลฯ 

หยำไม่ถึงน้ำ หรือ หยำไม่ถึงมือ หมายถึง ฝึกปรือมาไม่เพียงพอ หรือยังไม่ถึงขั้นที่จะสู้รบปรบมือกับใครได้ (คำว่า “หยำ” มาจากภาษานักเลงเลี้ยงไก่ชนว่า “หยำไก่” คือการที่เจ้าของไก่ชนต้องใช้มือ ใช้ผ้าชุบน้ำลูบขยำ นวด เฟ้น ตามตัว ตามแข้ง ขา หรือกล้าเนื้อของไก่ชนของตน เพื่อให้ไก่แข็งแกร่งมีกำลัง ยิ่งกระทำต่อเนื่องกันหลายมื้อก็ยิ่งทำให้แข็งแกร่งมากขึ้น)

การเลี้ยงไก่ชนเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไทย มีการเลี้ยงไก่ชนเพื่อความสวยงาม เพื่อการต่อสู้ หรือเพื่อการค้า มีการจัดประกวดไก่ชนเพื่อคัดเลือกไก่ชนที่มีความสวยงาม แข็งแรง และปราดเปรียว ไก่ชนที่ชนะการประกวดจะได้รับรางวัลเป็นเงินสดหรือสิ่งของมีค่า นอกจากการเลี้ยงไก่ชนเพื่อความสวยงาม และการต่อสู้แล้ว ไก่ชนยังมีความสำคัญทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย ไก่ชนเป็นสัญลักษณ์ของความกล้าหาญ ความแข็งแกร่ง และชัยชนะ มักถูกนำมาใช้ในงานประเพณีต่างๆ เช่น งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณียี่เป็ง เป็นต้น

ส่วนพื้นตัว มีสีดำตลอดทั้งตัว ส่วนสีของปาก สีแข้ง สีเล็บ และสีเดือย จะมีสีขาวอมเหลือง  คล้ายกับสีงาช้าง จะงอยปากด้านบนมีร่องน้ำ ดวงตามีสีเหลืองอ่อน และใส ส่วนนัยน์ตาขาวสามารถมองเห็นเส้นเลือดแทรกอยู่ได้ชัดเจน เรียกว่า “ตาปลาหมอ” ส่วนไก่ตัวเมียมีลักษณะ คล้ายตัวผู้ แต่หางจะมีสีดำตลอด และปลายขนพื้นลำตัวมักมีสีขาวเล็กน้อย ส่วนสีของปาก สีแข้ง สีเล็บจะมีสีคล้ายไก่ชนตัวผู้ไก่ชน ไทย

Report this page